ครูสันติ มารัตน์

ครูสันติ มารัตน์

นักเรียนโรงเรียนรามราชพิทยาคม จำนวน ๑๘ คน เป็นตัวแทนสภาเด็กและเยาวชนตำบลรามราช เข้าร่วมแสดงพิธีเปิดโครงการเยาวชนไทยหัวใจสะอาดและเข้าร่วมอบรมโครงการเด็ก เยาวชนจิตอาสา ใต้ร่มพระบารมีมหาจักรีวงศ์ ระดับอำเภอ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ในวันอาทิตย์ที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๒ ณ หอประชุมยงใจยุทธ อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม โดยมีนางสาวดาริณี เล็กดี, นางสาวธนาภรณ์ โฉมเฉลา และนางสาวพาณินี วงค์จันทะ เป็นครูผู้ดูแลการแสดงและการเข้าร่วมอบรมของนักเรียนในครั้งนี้

อัลบั้มภาพ

  • 1_1
  • 1_2
  • 1_3
  • 1_4
  • 1_5
  • 1_6
  • 1_7
  • 1_8

Simple Image Gallery Extended

ดูภาพกิจกรรมเพิ่มเติม

บทความที่เกี่ยวข้อง

 

วันพฤหัสบดี, 13 มิถุนายน 2562 11:36

กิจกรรมไหว้ครู ประจำปีการศึกษา 2562

วันที่ 13 มิถุนายน 2562 นักเรียนโรงเรียนรามราชพิทยาคม นำโดยสภานักเรียน ร่วมกันจัดพิธีไหว้ครู เพื่อแสดงถึงความรักและเคารพครูอาจารย์ที่อบรมสั่งสอนมา

อัลบั้มภาพ

  • 1_1
  • 1_10
  • 1_2
  • 1_3
  • 1_4
  • 1_5
  • 1_6
  • 1_7
  • 1_8
  • 1_9

Simple Image Gallery Extended

ดูภาพกิจกรรมเพิ่มเติม

บทความที่เกี่ยวข้อง

 

วันศุกร์ ที่ 31 พฤษภาคม 2562 นางพรนภา เอกนิพนธ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนรามราชพิทยาคม นำคณะครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน เข้าร่วมพิธีถวายพระพรชัยมงคลและร่วมลงนามถวายพระพร เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี วันที่ 3 มิถุนายน พุทธศักราช 2562

อัลบั้มภาพ

  • 1_1
  • 1_2
  • 1_3
  • 1_4
  • 1_5
  • 1_6
  • 1_7
  • 1_8
  • 1_9

Simple Image Gallery Extended

บทความที่เกี่ยวข้อง

 

วันที่ 29 พ.ค. 2562 เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลรามราช ได้มาลงพื้นที่สำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและแนะนำวิธีการทำลายลูกน้ำยุงลายให้แก่คณะครูและนักเรียน โรงเรียนรามราชพิทยาคม

อัลบั้มภาพ

  • 1_1
  • 1_2
  • 1_3
  • 1_4
  • 1_5
  • 1_6
  • 1_7

Simple Image Gallery Extended

บทความที่เกี่ยวข้อง

 

วันพฤหัสบดี ที่ 16 พฤษภาคม 2562 นางพรนภา เอกนิพนธ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนรามราชพิทยาคม พร้อมด้วยคณะครู ร่วมระดมทุนผ้าป่าการกุศลเพื่อสมทบทุนจัดซื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์ มอบให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรามราช และนำปัจจัยเข้าร่วมทำบุญ ณ วัดป่าโพนสิมมา หมู่ที่ 14 บ้านรามราช ตำบลรามราช อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม

อัลบั้มรูปภาพ

  • 1_1
  • 1_2
  • 1_3
  • 1_4
  • 1_5

Simple Image Gallery Extended

บทความที่เกี่ยวข้อง

วันพุธ, 09 ตุลาคม 2562 16:20

ฉบับที่ 58/2562 วันที่ 9 ตุลาคม 2562

ฉบับที่ 58/2562 วันที่ 9 ตุลาคม 2562

ภาพกิจกรรมเพิ่มเติม

  • 1_1
  • 1_2
  • 1_3
  • 1_4
  • 1_5

Simple Image Gallery Extended

 

วันศุกร์, 04 ตุลาคม 2562 16:14

ฉบับที่ 57/2562 วันที่ 4 ตุลาคม 2562

ฉบับที่ 57/2562 วันที่ 4 ตุลาคม 2562

ภาพกิจกรรมเพิ่มเติม

  • google_site_1
  • google_site_10
  • google_site_11
  • google_site_12
  • google_site_13
  • google_site_14
  • google_site_15
  • google_site_16
  • google_site_17
  • google_site_18
  • google_site_19
  • google_site_2
  • google_site_20
  • google_site_21
  • google_site_22
  • google_site_23
  • google_site_24
  • google_site_25
  • google_site_26
  • google_site_27
  • google_site_28
  • google_site_29
  • google_site_3
  • google_site_30
  • google_site_31
  • google_site_32
  • google_site_33
  • google_site_34
  • google_site_35
  • google_site_36
  • google_site_37
  • google_site_38
  • google_site_39
  • google_site_4
  • google_site_40
  • google_site_41
  • google_site_42
  • google_site_5
  • google_site_6
  • google_site_7
  • google_site_8
  • google_site_9

Simple Image Gallery Extended

 

1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ

1.1.แผนผังการปฏิบัติงาน การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ 

1.2.เกณฑ์การประเมินการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ 

1.3.แบบประเมิน การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ

      1.3.1. กลุ่ม ๑

      1.3.2 กลุ่ม ๒

1.4.สรุปผลการประเมิน การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ กลุ่ม ๑,กลุ่ม ๒

1.5.ภาพกิจกรรม การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ 

 

วันอาทิตย์, 29 กันยายน 2562 14:58

3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

เกณฑ์การประเมิน 

ผลงานนักเรียน

  1. ผลงานนักเรียนสาระภาษาไทย

  2. ผลงานนักเรียนวิชาคณิตศาสตร์

  3. ผลงานกลุ่มสาระวิทย์ศาสตร์และคอมพิวเตอร์

  4. ผลงานนักเรียนสาระภาษาต่างประเทศ

  5. ผลงานนักเรียนสาระสังคม

  6. ผลงานนักเรียนกลุ่มสาระศิลปะ

 

  • inovation_10
  • inovation_11
  • inovation_12
  • inovation_13
  • inovation_14
  • inovation_15
  • inovation_16
  • inovation_17
  • inovation_18
  • inovation_19
  • inovation_2
  • inovation_20
  • inovation_21
  • inovation_22
  • inovation_23
  • inovation_24
  • inovation_25
  • inovation_26
  • inovation_27
  • inovation_28
  • inovation_29
  • inovation_3
  • inovation_30
  • inovation_31
  • inovation_32
  • inovation_33
  • inovation_34
  • inovation_35
  • inovation_36
  • inovation_37
  • inovation_38
  • inovation_39
  • inovation_4
  • inovation_40
  • inovation_41
  • inovation_42
  • inovation_43
  • inovation_44
  • inovation_45
  • inovation_6
  • inovation_7
  • inovation_8
  • inovation_9

Simple Image Gallery Extended

3.5.1 แผนผังการปฏิบัติงาน  การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านกระบวนการของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional  Learning Community: PLC)

3.5.2 เกณฑ์การประเมิน  การเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC 

ภาพกิจกรรม การเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC 

  • plc1_1
  • plc1_10
  • plc1_11
  • plc1_12
  • plc1_13
  • plc1_14
  • plc1_15
  • plc1_16
  • plc1_17
  • plc1_18
  • plc1_19
  • plc1_2
  • plc1_20
  • plc1_21
  • plc1_22
  • plc1_23
  • plc1_24
  • plc1_25
  • plc1_26
  • plc1_27
  • plc1_28
  • plc1_29
  • plc1_3
  • plc1_30
  • plc1_31
  • plc1_32
  • plc1_33
  • plc1_34
  • plc1_35
  • plc1_36
  • plc1_37
  • plc1_38
  • plc1_39
  • plc1_4
  • plc1_40
  • plc1_41
  • plc1_42
  • plc1_43
  • plc1_44
  • plc1_45
  • plc1_46
  • plc1_47
  • plc1_48
  • plc1_49
  • plc1_5
  • plc1_50
  • plc1_51
  • plc1_52
  • plc1_53
  • plc1_54
  • plc1_55
  • plc1_56
  • plc1_57
  • plc1_58
  • plc1_59
  • plc1_6
  • plc1_60
  • plc1_61
  • plc1_62
  • plc1_63
  • plc1_64
  • plc1_65
  • plc1_66
  • plc1_67
  • plc1_68
  • plc1_69
  • plc1_7
  • plc1_70
  • plc1_71
  • plc1_72
  • plc1_73
  • plc1_74
  • plc1_75
  • plc1_76
  • plc1_77
  • plc1_78
  • plc1_79
  • plc1_8
  • plc1_80
  • plc1_81
  • plc1_82
  • plc1_83
  • plc1_9

Simple Image Gallery Extended

3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก

สรุปผลแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนรามราชพิทยาคม ต่อครูผู้สอน 8 กลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2561

graph

3.3 result

แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนรามราชพิทยาคมต่อครูผู้สอน กลุ่มสาระภาษาไทย คลิก

3.3 thai

แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนรามราชพิทยาคมต่อครูผู้สอน กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ คลิก

3.3 math

แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนรามราชพิทยาคมต่อครูผู้สอน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ คลิก

3.3 science

 แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนรามราชพิทยาคมต่อครูผู้สอน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม คลิก

3.3 social

แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนรามราชพิทยาคมต่อครูผู้สอน กลุ่มสาระสุขศึกษา คลิก

3.3 health

แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนรามราชพิทยาคมต่อครูผู้สอน กลุ่มสาระศิลปะ คลิก

3.3 art

แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนรามราชพิทยาคมต่อครูผู้สอน กลุ่มสาระการงานอาชีพ คลิก

3.3 work

แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนรามราชพิทยาคมต่อครูผู้สอน กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ คลิก

3.3 eng

3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อที่หลากหลาย

QR innovation

แบบสอบถามความคิดเห็น การใช้ประโยชน์แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น โรงเรียนรามราชพิทยาคม


รูปภาพสื่อการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย

  • thai_1
  • thai_10
  • thai_11
  • thai_2
  • thai_3
  • thai_4
  • thai_5
  • thai_6
  • thai_7
  • thai_8
  • thai_9

Simple Image Gallery Extended

รูปภาพสื่อการสอนกลุ่มสาระคณิตศาสตร์

  • sci__5

Simple Image Gallery Extended

รูปภาพสื่อการสอนกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

  • sci__1
  • sci__2
  • sci__3
  • sci__4
  • sci__5
  • sci__6
  • sci__7

Simple Image Gallery Extended

รูปภาพสื่อการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ

  • qa3_1
  • qa3_10
  • qa3_11
  • qa3_12
  • qa3_13
  • qa3_14
  • qa3_15
  • qa3_16
  • qa3_17
  • qa3_18
  • qa3_19
  • qa3_2
  • qa3_20
  • qa3_21
  • qa3_22
  • qa3_23
  • qa3_24
  • qa3_25
  • qa3_26
  • qa3_27
  • qa3_28
  • qa3_29
  • qa3_3
  • qa3_30
  • qa3_31
  • qa3_32
  • qa3_33
  • qa3_34
  • qa3_35
  • qa3_36
  • qa3_4
  • qa3_5
  • qa3_6
  • qa3_7
  • qa3_8

Simple Image Gallery Extended

รูปภาพสื่อการสอนกลุ่มสาระสุขศึกษา

  • 1_1
  • 1_2
  • 1_3
  • 1_4

Simple Image Gallery Extended

รูปภาพสื่อการสอนกลุ่มสาระศิลปะ

  • 1_1
  • 1_10
  • 1_11
  • 1_12
  • 1_13
  • 1_14
  • 1_15
  • 1_16
  • 1_17
  • 1_2
  • 1_3
  • 1_4
  • 1_5
  • 1_6
  • 1_7
  • 1_8
  • 1_9

Simple Image Gallery Extended

รูปภาพสื่อการสอนกลุ่มสาระการงานอาชีพ

  • สื่อ_กลุ่มสาระการงานอาชีพ_๑๙๑๐๐๗_0001
  • สื่อ_กลุ่มสาระการงานอาชีพ_๑๙๑๐๐๗_0002
  • สื่อ_กลุ่มสาระการงานอาชีพ_๑๙๑๐๐๗_0004
  • สื่อ_กลุ่มสาระการงานอาชีพ_๑๙๑๐๐๗_0005
  • สื่อ_กลุ่มสาระการงานอาชีพ_๑๙๑๐๐๗_0006
  • สื่อ_กลุ่มสาระการงานอาชีพ_๑๙๑๐๐๗_0007

Simple Image Gallery Extended

รูปภาพสื่อการสอนกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ

  • thai_1
  • thai_10
  • thai_11
  • thai_2
  • thai_3
  • thai_4
  • thai_5
  • thai_6
  • thai_7
  • thai_8
  • thai_9

Simple Image Gallery Extended

 

 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

  • Practical_1
  • Practical_10
  • Practical_100
  • Practical_101
  • Practical_102
  • Practical_103
  • Practical_104
  • Practical_105
  • Practical_106
  • Practical_107
  • Practical_108
  • Practical_109
  • Practical_11
  • Practical_110
  • Practical_111
  • Practical_112
  • Practical_113
  • Practical_114
  • Practical_115
  • Practical_116
  • Practical_117
  • Practical_118
  • Practical_119
  • Practical_12
  • Practical_120
  • Practical_121
  • Practical_122
  • Practical_123
  • Practical_124
  • Practical_125
  • Practical_126
  • Practical_127
  • Practical_128
  • Practical_129
  • Practical_13
  • Practical_130
  • Practical_131
  • Practical_132
  • Practical_133
  • Practical_134
  • Practical_135
  • Practical_136
  • Practical_137
  • Practical_138
  • Practical_139
  • Practical_14
  • Practical_140
  • Practical_141
  • Practical_142
  • Practical_143
  • Practical_144
  • Practical_145
  • Practical_146
  • Practical_147
  • Practical_148
  • Practical_149
  • Practical_15
  • Practical_150
  • Practical_151
  • Practical_152
  • Practical_153
  • Practical_154
  • Practical_155
  • Practical_156
  • Practical_157
  • Practical_158
  • Practical_159
  • Practical_16
  • Practical_160
  • Practical_161
  • Practical_162
  • Practical_163
  • Practical_164
  • Practical_165
  • Practical_166
  • Practical_167
  • Practical_168
  • Practical_169
  • Practical_17
  • Practical_170
  • Practical_171
  • Practical_172
  • Practical_173
  • Practical_174
  • Practical_175
  • Practical_176
  • Practical_177
  • Practical_178
  • Practical_179
  • Practical_18
  • Practical_180
  • Practical_181
  • Practical_182
  • Practical_183
  • Practical_184
  • Practical_185
  • Practical_186
  • Practical_187
  • Practical_188
  • Practical_189
  • Practical_19
  • Practical_190
  • Practical_191
  • Practical_192
  • Practical_193
  • Practical_194
  • Practical_195
  • Practical_196
  • Practical_197
  • Practical_198
  • Practical_199
  • Practical_2
  • Practical_20
  • Practical_200
  • Practical_201
  • Practical_202
  • Practical_203
  • Practical_204
  • Practical_205
  • Practical_21
  • Practical_22
  • Practical_23
  • Practical_24
  • Practical_25
  • Practical_26
  • Practical_27
  • Practical_28
  • Practical_29
  • Practical_3
  • Practical_30
  • Practical_31
  • Practical_32
  • Practical_33
  • Practical_34
  • Practical_35
  • Practical_36
  • Practical_37
  • Practical_38
  • Practical_39
  • Practical_4
  • Practical_40
  • Practical_41
  • Practical_42
  • Practical_43
  • Practical_44
  • Practical_45
  • Practical_46
  • Practical_47
  • Practical_48
  • Practical_49
  • Practical_5
  • Practical_50
  • Practical_51
  • Practical_52
  • Practical_53
  • Practical_54
  • Practical_55
  • Practical_56
  • Practical_57
  • Practical_58
  • Practical_59
  • Practical_6
  • Practical_60
  • Practical_61
  • Practical_62
  • Practical_63
  • Practical_64
  • Practical_65
  • Practical_66
  • Practical_67
  • Practical_68
  • Practical_69
  • Practical_7
  • Practical_70
  • Practical_71
  • Practical_72
  • Practical_73
  • Practical_74
  • Practical_75
  • Practical_76
  • Practical_77
  • Practical_78
  • Practical_79
  • Practical_8
  • Practical_80
  • Practical_81
  • Practical_82
  • Practical_83
  • Practical_84
  • Practical_85
  • Practical_86
  • Practical_87
  • Practical_88
  • Practical_89
  • Practical_9
  • Practical_90
  • Practical_91
  • Practical_92
  • Practical_93
  • Practical_94
  • Practical_95
  • Practical_96
  • Practical_97
  • Practical_98
  • Practical_99

Simple Image Gallery Extended

  1. แผนผังขั้นตอนการทำงานอาคารสถานที่

  2. แผนการดำเนินงาน-งานอาคารสถานที่

  3. เกณฑ์การประเมิน-อาคารสถานที่

  4. แบบประเมินห้องเรียนและอาคารตามความคิดเห็นของผู้ใช้บริการ

  5. ผลการประเมินความพึงพอใจ-อาคารสถานที่

ภาพอาคารสถานที่โรงเรียนรามราชพิทยาคม 

  • bliding_2
  • bliding_3
  • bliding_5
  • bliding_6
  • image001
  • image003
  • image005
  • image007
  • image009
  • image011
  • image013
  • image015
  • image017
  • image019
  • image021
  • image023
  • image025
  • image027
  • image029
  • image031
  • image033
  • image035
  • image037
  • image039
  • image041
  • image045
  • image047

Simple Image Gallery Extended

2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

2.4.1.แผนผังการปฏิบติงานการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาครูและบุคลากร

2.4.2.เกณฑ์การประเมินการเข้าร่วมพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

2.4.3.ผลการประเมินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

2.4.4.ภาพกิจกรรม การพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

Strategy for teacher development

Corporate values

Student support system

แผนการเรียนภาวะผู้นำ (งานช่าง LEADERSHIP)

  • Leadership_1
  • Leadership_10
  • Leadership_11
  • Leadership_12
  • Leadership_13
  • Leadership_14
  • Leadership_15
  • Leadership_16
  • Leadership_17
  • Leadership_18
  • Leadership_19
  • Leadership_2
  • Leadership_20
  • Leadership_21
  • Leadership_22
  • Leadership_23
  • Leadership_24
  • Leadership_25
  • Leadership_26
  • Leadership_3
  • Leadership_4
  • Leadership_5
  • Leadership_6
  • Leadership_7
  • Leadership_8
  • Leadership_9

Simple Image Gallery Extended

  1. เกณฑ์การให้ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๒.๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

  2. คุณภาพการศึกษา ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

  3. คำแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการศึกษา ค่าเป้าหมายความสำเร็จ ของแต่ละมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๑

  4. ประกาศโรงเรียนรามราชพิทยาคม เรื่อง การกำหนดมาตรฐานและค่าเป้าหมายการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๑

แผนปฎิบัติการ ปีการศึกษา ๒๕๖๑

  1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประชุมปฏิบัติการเตรียมการจัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๑

  2. คำแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๑

  3. รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๑

  4. คำแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการศึกษา ค่าเป้าหมายความสำเร็จ ของแต่ละมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒

  5. ประกาศโรงเรียนรามราชพิทยาคม เรื่อง การกำหนดมาตรฐานและค่าเป้าหมายการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๒

  6. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา (ระยะ ๓ ปี ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔)

  7. แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา (ระยะ ๓ ปี ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔)

Innovation in Quality Management

 

 

2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

       2.1.1 แผนผังโครงสร้างการจัดทำแผนเชิงกลยุทธ์ การกำหนดเป้าหมายและพัธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

       2.1.2 แผนผังขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติการ

       2.1.3 เกณฑ์การประเมิน การกำหนดเป้าหมายและพัธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

       2.1.4 ภาพกิจกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการ

       2.1.5 ภาพกิจกรรม การกำหนดเป้าหมายและพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

Educational Administration and Process

Innovation in Quality Management

  1. ผังกระบวนการ

  2. เกณฑ์การวัดและประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์โรงเรียนรามราชพิทยาคมรักความเป็นไทย

  3. กราฟแสดงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปีการศึกษา 2559-2561

  4. ผลการดำเนินงาน

ภาพประกอบความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

  • image001
  • image003
  • image005
  • image007
  • image009
  • image011
  • image013
  • image015
  • image017
  • image019
  • image021
  • image023
  • image025
  • image027
  • image029
  • image031
  • image033
  • image035
  • image037
  • image039
  • image041
  • image043
  • image045
  • image047
  • image049
  • image051
  • image053
  • image055
  • image057

Simple Image Gallery Extended

 

  1. ผังการทำงาน 

  2. กระบวนการพัฒนา

  3. เกณฑ์การวัดและประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์

  4. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

  5. กราฟคุณลักษณะอันพึงประสงค์

  6. ตารางผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ภาพประกอบคุณลักษณะอันพึงประสงค์

  • image001
  • image003
  • image005
  • image007
  • image009
  • image011
  • image013
  • image015
  • image017
  • image019
  • image021
  • image023
  • image025
  • image027
  • image029
  • image031
  • image033
  • image035
  • image037
  • image039
  • image041
  • image043
  • image045
  • image047
  • image049
  • image051
  • image053
  • image055
  • image057

Simple Image Gallery Extended

6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ทำงานให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดได้เป็นอย่างดี และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต โดยมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่ และระดับชาติ

กระบวนการพัฒนา

แบบประเมินพฤติกรรมผู้เรียน

ผลการประเมิน

ข้อมูลสนับสนุน 

 

5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา

      5.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กล่มสาระ

      5.2 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน

            5.2.1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

            5.2.2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

4.1) ผังกระบวนการ

4.2) เครื่องมือวัดและประเมินความสามารถและทักษะ “การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้”

      4.2.1) ชั้นมธยมศึกษาปีที่ 1

      4.2.2) ชั้นมธยมศึกษาปีที่ 2

      4.2.3) ชั้นมธยมศึกษาปีที่ 3

      4.2.4) ชั้นมธยมศึกษาปีที่ 4

      4.2.5) ชั้นมธยมศึกษาปีที่ 5

      4.2.6) ชั้นมธยมศึกษาปีที่ 6

4.3) เกณฑ์การประเมิน

4.4) สรุปผล

4.5) ภาพกิจกรรม

1. ผังรูปแบบการประเมิน
2. เกณฑ์การวัด/เครื่องมือประกอบด้วย

- เกณฑ์การประเมิน

3. กราฟสรุปผล ม.1-6
4. สรุป

- สรุปผล ม.1-6

ภาพประกอบ

  • 1_1
  • 1_10
  • 1_100
  • 1_101
  • 1_102
  • 1_103
  • 1_104
  • 1_105
  • 1_106
  • 1_107
  • 1_108
  • 1_109
  • 1_11
  • 1_110
  • 1_111
  • 1_112
  • 1_113
  • 1_114
  • 1_115
  • 1_116
  • 1_117
  • 1_118
  • 1_119
  • 1_12
  • 1_120
  • 1_121
  • 1_122
  • 1_123
  • 1_124
  • 1_125
  • 1_126
  • 1_127
  • 1_128
  • 1_129
  • 1_13
  • 1_130
  • 1_131
  • 1_132
  • 1_133
  • 1_134
  • 1_135
  • 1_136
  • 1_137
  • 1_138
  • 1_139
  • 1_14
  • 1_140
  • 1_141
  • 1_142
  • 1_143
  • 1_144
  • 1_145
  • 1_146
  • 1_147
  • 1_148
  • 1_149
  • 1_15
  • 1_150
  • 1_151
  • 1_152
  • 1_153
  • 1_154
  • 1_155
  • 1_156
  • 1_157
  • 1_158
  • 1_159
  • 1_16
  • 1_160
  • 1_161
  • 1_162
  • 1_163
  • 1_164
  • 1_165
  • 1_166
  • 1_167
  • 1_168
  • 1_169
  • 1_17
  • 1_170
  • 1_171
  • 1_172
  • 1_173
  • 1_174
  • 1_175
  • 1_176
  • 1_177
  • 1_178
  • 1_179
  • 1_18
  • 1_180
  • 1_181
  • 1_182
  • 1_183
  • 1_184
  • 1_185
  • 1_186
  • 1_187
  • 1_188
  • 1_189
  • 1_19
  • 1_190
  • 1_191
  • 1_192
  • 1_193
  • 1_194
  • 1_195
  • 1_196
  • 1_197
  • 1_198
  • 1_199
  • 1_2
  • 1_20
  • 1_200
  • 1_201
  • 1_202
  • 1_203
  • 1_204
  • 1_205
  • 1_206
  • 1_207
  • 1_208
  • 1_209
  • 1_21
  • 1_210
  • 1_211
  • 1_212
  • 1_213
  • 1_214
  • 1_215
  • 1_216
  • 1_217
  • 1_218
  • 1_219
  • 1_22
  • 1_220
  • 1_221
  • 1_222
  • 1_223
  • 1_224
  • 1_225
  • 1_226
  • 1_227
  • 1_228
  • 1_229
  • 1_23
  • 1_230
  • 1_231
  • 1_232
  • 1_233
  • 1_234
  • 1_235
  • 1_236
  • 1_237
  • 1_238
  • 1_239
  • 1_24
  • 1_240
  • 1_241
  • 1_242
  • 1_243
  • 1_244
  • 1_245
  • 1_246
  • 1_247
  • 1_248
  • 1_249
  • 1_25
  • 1_250
  • 1_251
  • 1_252
  • 1_253
  • 1_254
  • 1_255
  • 1_256
  • 1_257
  • 1_258
  • 1_259
  • 1_26
  • 1_260
  • 1_27
  • 1_28
  • 1_29
  • 1_3
  • 1_30
  • 1_31
  • 1_32
  • 1_33
  • 1_34
  • 1_35
  • 1_36
  • 1_37
  • 1_38
  • 1_39
  • 1_4
  • 1_40
  • 1_41
  • 1_42
  • 1_43
  • 1_44
  • 1_45
  • 1_46
  • 1_47
  • 1_48
  • 1_49
  • 1_5
  • 1_50
  • 1_51
  • 1_52
  • 1_53
  • 1_54
  • 1_55
  • 1_56
  • 1_57
  • 1_58
  • 1_59
  • 1_6
  • 1_60
  • 1_61
  • 1_62
  • 1_63
  • 1_64
  • 1_65
  • 1_66
  • 1_67
  • 1_68
  • 1_69
  • 1_7
  • 1_70
  • 1_71
  • 1_72
  • 1_73
  • 1_74
  • 1_75
  • 1_76
  • 1_77
  • 1_78
  • 1_79
  • 1_8
  • 1_80
  • 1_81
  • 1_82
  • 1_83
  • 1_84
  • 1_85
  • 1_86
  • 1_87
  • 1_88
  • 1_89
  • 1_9
  • 1_90
  • 1_91
  • 1_92
  • 1_93
  • 1_94
  • 1_95
  • 1_96
  • 1_97
  • 1_98
  • 1_99

Simple Image Gallery Extended

วันศุกร์, 27 กันยายน 2562 17:05

แจ้ง ปิด – เปิด ภาคเรียน

ด้วย โรงเรียนรามราชพิทยาคม  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต  22 ได้ดำเนินการวัดและประเมินผลปลายภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอแจ้งกำหนดการปิด – เปิด ภาคเรียน ดังนี้

  1. นักเรียนปิดภาคเรียนที่ 1/2562 วันจันทร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2562
  2. ประกาศผลการเรียนภาคเรียนที่ 1/2562 ตั้งแต่ วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ซึ่งนักเรียนสามารถดูประกาศผลการเรียนได้ที่ https://sgs6.bopp-obec.info/sgss 

QR GradeStudent 

สแกนเพื่อดูประกาศผลการเรียน

  1. นักเรียนเปิดภาคเรียนที่ 2/2562 วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2562
  2. นักเรียนยื่นคำร้องขอแก้ 0, ร, มส และ มผ ของภาคเรียนที่ 1/2562 ระหว่าง วันที่ 1 – 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

                   ทั้งนี้ ระหว่างปิดภาคเรียนทางโรงเรียนขอความร่วมมือท่านช่วยดูแลนักเรียนในความปกครองของท่าน ได้ทบทวนตำรา และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในภาคเรียนถัดไป  หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับความร่วมมือจากท่านด้วยดีเช่นเคย และขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้

close1 2562

บทความที่เกี่ยวข้อง

วันพฤหัสบดี, 22 สิงหาคม 2562 11:03

ฉบับที่ 44/2562 วันที่ 22 สิงหาคม 2562

ฉบับที่ 44/2562 วันที่ 22 สิงหาคม 2562

วันอาทิตย์, 28 กรกฎาคม 2562 13:26

ฉบับที่ 34/2562 วันที่ 28 กรกฎาคม 2562

ฉบับที่ 34/2562 วันที่ 28 กรกฎาคม 2562

 

วันศุกร์, 20 กันยายน 2562 19:04

ตารางสอบปลายภาคเรียนที่ 1/2562

หลังจากได้จัดการเรียนการสอนมาจบภาคการศึกษาแล้ว โรงเรียนรามราชพิทยาคมจึงได้จัดการวัดผลและประเมินผลสอบปลายภาคเรียนที่ 1/2562 ในวันที่ 25-27 กันยายน 2562 โดยมีตารางสอบดังต่อไปนี้

ตารางสอบปลายภาคเรียนที่ 1/2562 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

final 1 2562 Page 1

ตารางสอบปลายภาคเรียนที่ 1/2562 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

final 1 2562 Page 2

ตารางสอบปลายภาคเรียนที่ 1/2562 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

final 1 2562 Page 3

ตารางสอบปลายภาคเรียนที่ 1/2562 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

final 1 2562 Page 3

 ตารางสอบปลายภาคเรียนที่ 1/2562 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

final 1 2562 Page 3

ตารางสอบปลายภาคเรียนที่ 1/2562 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

final 1 2562 Page 3

 บทความที่เกี่ยวข้อง

วันพฤหัสบดี, 19 กันยายน 2562 10:11

วันปล่อยของ RPK ครั้งที่ 1/2562

โรงเรียนรามราชพิทยาคมได้จัดกิจกรรม "ปล่อยของ RPK ครั้งที่ 1/2562"  ในวันพฤหัสบดี ที่ 19 กันยายน 2562 มีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย อาทิ เช่น กิจกรรม Walking Rally, กิจกรรมตลาดนัด, ประกวดร้องเพลง, แสดงตลก, ดนตรีสด และอื่น ๆ อีกมากมาย เมื่อพร้อมแล้ว ไปรับชมกันเลยครับ

บทความที่เกี่ยวข้อง

โรงเรียนรามราชพิทยาคม จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

บทความที่เกี่ยวข้อง

เชิญร่วมกิจกรรม "วันปล่อยของ ครั้งที่ 1" ณ โรงเรียนรามราชพิทยาคม ในวันพฤหัสบดี ที่ 19 กันยายน 2562 มีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย อาทิ เช่น กิจกรรม Walking Rally, กิจกรรมตลาดนัด, ประกวดร้องเพลง, แสดงตลก, ดนตรีสด, การแสดง Science Show และอื่น ๆ อีกมากมาย

บทความที่เกี่ยวข้อง

วันศุกร์, 24 พฤษภาคม 2562 20:19

กิจกรรมรับน้อง

วันที่ศุกร์ ที่ 24 พฤษภาคม 2562 ช่วงบ่ายได้จัดกิจกรรมต้อนรับน้องใหม่เข้าสู่รั้วเขียว-เหลือง ด้วยความอบอุ่น และสนุกสนาน อาจจะมีเลอะบ้างแต่ก็เป็นสีสันของการรับน้องที่สื่อความหมายว่าจะต้องฝ่าฟันอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อก้าวสู่ความสำเร็จ

61966822 1615562981909403 3898249297241571328 n

มีเลอะสีบ้างแต่ก็มีความสุข

61918164 1615561045242930 6325423977221062656 n
ปิดตาตีปี๊ปปปป!!!! เป็นเกมที่ต้องให้ประสาทสัมภัสที่ดี ผู้เล่น(ถือไม้)จะต้องเชื่อใจผู้บอกทิศทาง

61662309 1615560945242940 1786282361604800512 nสภาพน้อง ๆ แต่ละคน...

61498538 1615560625242972 3405890751987449856 nตั้งใจมากจริง ๆ ฉันต้องชนะ

ดูภาพกิจกรรมทั้งหมด

บทความที่เกี่ยวข้อง

วันพฤหัสบดี, 15 สิงหาคม 2562 09:28

วันสารทจีน

วันสารทจีน หรือ เทศกาลสารทจีน (Sart Chin Day or Ghost Festival or Spirit Festival) ตรงกับวันที่ 15 เดือน 7 ตามปีปฏิทินทางจันทรคติของจีน ที่โดยปกติแล้วจะช้ากว่าปีปฏิทินทางจันทรคติของไทยประมาณ 2 เดือน ซึ่งตามปีปฏิทินทางจันทรคติของไทยวันสารทจีนจะตรงกับวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 9 นับว่าเป็นอีกเทศกาลหนึ่งที่มีความสำคัญสำหรับชาวจีน เป็นช่วงเวลาที่ลูกหลานชาวจีนจะได้แสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษด้วยการเซ่นไหว้ อีกทั้งยังเป็นเดือนที่ประตูนรกเปิดให้วิญญาณทั้งหลายขึ้นมารับส่วนกุศลผลบุญที่มีผู้อุทิศไปให้ไว้ได้อีกด้วย

เทศกาลสารทจีนถือเป็นวันสำคัญที่ลูกหลานชาวจีนจะแสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ โดยพิธีเซ่นไหว้ และยังถือเป็นเดือนที่ประตูนรกเปิดให้วิญญาณทั้งหลายมารับกุศลผลบุญได้

Chinese Sart Day1

ตำนานวันสารทจีน

ตำนานที่ 1

ตำนานนี้กล่าวไว้ว่าวันสารทจีนเป็นวันที่เซ็งฮีไต๋ตี๋ (ยมบาล) จะตรวจดูบัญชีวิญญาณคนตาย ส่งวิญญาณดีขึ้นสวรรค์และส่งวิญญาณร้ายลงนรก ชาวจีนทั้งหลายรู้สึกสงสารวิญญาณร้ายจึงทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้ ดังนั้นเพื่อให้วิญญาณร้ายออกมารับกุศลผลบุญนี้จึงต้องมีการเปิดประตูนรกนั่นเอง

Chinese Sart Day4

ตำนานที่ 2

มีชายหนุ่มผู้หนึ่งมีนามว่า “มู่เหลียน” เป็นคนเคร่งครัดในพุทธศาสนามาก ผิดกับมารดาที่เป็นคนใจบาปหยาบช้าไม่เคยเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์มีจริง ปีหนึ่งในช่วงเทศกาลกินเจนางเกิดความหมั่นไส้คนที่นุ่งขาวห่มขาวถือศีลกินเจ นางจึงให้มู่เหลียนไปเชิญผู้ถือศีลกินเจเหล่านั้นมากินอาหารที่บ้านโดยนางจะทำอาหารเลี้ยงหนึ่งมื้อ ผู้ถือศีลกินเจต่างพลอยยินดีที่ทราบข่าวว่ามารดาของมู่เหลียนเกิดศรัทธาในบุญกุศลครั้งนี้ จึงพากันมากินอาหารที่บ้านของมู่เหลียนแต่หาทราบไม่ว่าในน้ำแกงเจนั้นมีน้ำมันหมูเจือปนอยู่ด้วย การกระทำของมารดามู่เหลียนนั้นถือว่าเป็นกรรมหนัก เมื่อตายไปจึงตกนรกอเวจีมหานรกขุมที่ 8 เป็นนรกขุมลึกที่สุดได้รับความทุกข์ทรมานแสนสาหัส เมื่อมู่เหลียนคิดถึงมารดาก็ได้ถอดกายทิพย์ลงไปในนรกภูมิ จึงได้รู้ว่ามารดาของตนกำลังอดอยากจึงป้อนอาหารแก่มารดา แต่ได้ถูกบรรดาภูตผีที่อดอยากรุมแย่งไปกินหมดและเม็ดข้าวสุกที่ป้อนนั้นกลับเป็นไฟเผาไหม้ริมฝีปากของมารดาจนพอง แต่ด้วยความกตัญญูและสงสารมารดาที่ได้รับความทุกข์ทรมานอย่างสาหัสมู่เหลียนได้เข้าไปขอพญาเหงี่ยมล่ออ๊อง (ท้าวมัจจุราช) ว่าตนของรับโทษแทนมารดา

แต่ก่อนที่มู่เหลียนจะถูกลงโทษด้วยการนำร่างลงไปต้มในกระทะทองแดง พระพุทธเจ้าได้เสด็จลงมาโปรดไว้ได้ทัน โดยกล่าวว่ากรรมใดใครก่อก็ย่อมจะเป็นกรรมของผู้นั้นและพระพุทธเจ้าได้มอบคัมภีร์อิ๋ว หลันเผิน ให้มู่เหลียนท่องเพื่อเรียกเซียนทุกทิศทุกทางมาช่วยผู้มีพระคุณให้หลุดพ้นจากการอดอยากและทุกข์ทรมานต่าง ๆ ได้ โดยที่มู่เหลียนจะต้องสวดคัมภีร์อิ๋ว หลันเผินและถวายอาหารทุกปีในเดือนที่ประตูนรกเปิดจึงจะสามารถช่วยมารดาของเขาให้พ้นโทษได้ นับแต่นั้นเป็นต้นมา ชาวจีนจึงได้ถือเป็นประเพณีปฏิบัติสืบต่อมากันโดยตลอดด้วยการเซ่นไหว้ โดยจะนำอาหารทั้งคาวหวาน และกระดาษเงินกระดาษทองไปวางไว้ที่หน้าบ้านหรือตามทางแยกที่ไม่ไกลนัก มีนัยว่าเป็นการเบี่ยงเบนความสนใจของบรรดาวิญญาณเร่ร่อนที่กำลังจะผ่านมาใกล้ที่พักของตน

อาหารที่ใช้เซ่นไหว้วันสารทจีน

อาหารที่ใช้เซ่นไหว้นอกจากหมูเห็ดเป็ดไก่แล้ว มักมีอีก 4 อย่าง คือ

Chinese Sart Day3

  1. Baozi เปาจึ ซาลาเปา
  2. Jiaozi เจี่ยวจือ เกี๊ยวแบบเกี๊ยวจีน
  3. Mantou หมานโถว หมั่นโถว
  4. Pingguo ผิงกว่อ แอปเปิล

ในสมัยก่อน เมื่อยังเป็นสังคมเกษตรกรรม สิ่งที่ทุกครัวเรือนทำในวันนี้อีกสิ่งหนึ่งคือ การนำกิ่งธัญพืช 5 อย่าง เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวฟ่าง ลูกเดือย ถั่ว มาผูกรวมเป็นพู่ แล้วปักไว้เหนือประตูหน้าบ้าน โดยถือว่าพู่ธัญพืช 5 อย่างนี้ เป็นสัญลักษณ์แทนม้า เพื่อว่าเมื่อเสร็จพิธีเซ่นไหว้ และการเลี้ยงส่งแล้ว บรรพบุรุษก็จะได้ขี่ม้ากลับไป เป็นการอำนวยความสะดวกในการเดินทางให้แก่บรรพบุรุษของตน พู่ที่ใช้ในพิธีวันสารทจีน เรียกว่า wugu suizi หวูกู่ ซุ่ยจึ (พู่ที่ทำด้วยธัญพืช 5 อย่าง)

การไหว้ในเทศกาลสารทจีน

ช่วงเวลาที่เหมาะสำหรับการเซ่นไหว้ในช่วงสารทจีนนั้นนิยมทำกันในช่วงเช้า เริ่มต้นจากการเซ่นไหว้เจ้าที่เจ้าทาง จากนั้นจึงนำเอากระดาษเงินกระดาษทองมาเผาให้เรียบร้อย ต่อด้วยช่วงสายๆ จึงตั้งโต๊ะเพื่อทำการไว้บรรพบุรุษและไหวฮ้อเฮียตี๋ แต่ในบางบ้านบางครอบครัวก็นิยมไหว้กันในช่วงบ่าย หากไหว้พร้อมกันให้ตั้งโต๊ะแยกจากกัน แต่สามารถเผากระดาษเงินกระดาษทองร่วมกันได้ จะเห็นได้ว่า การไหว้ในช่วงเทศกาลสารทจีนจะมีความแตกต่างจากการไหว้ในเทศกาลอื่นๆ โดยได้แบ่งการไหว้ออกเป็นส่วน ๆ 3 ส่วน 3 ชุด ดังนี้

  1. ชุดที่ 1 สำหรับไหว้เจ้าที่ เหมาะสำหรับไหว้ในช่วงเช้า มีเครื่องเซ่นไหว้เป็นอาหารคาวหวาน ขนมที่ใช้ไว้เป็นขนมถ้วยฟู กุยช่าย ส่วนขนมสำหรับไหว้ที่ควรมีตามประเพณีสารทจีน คือ ขนมเทียน ขนมเข่ง จะต้องแต้มจุดสีแดงไว้ตรงกลางขนม โดยจากความเชื่อของชาวจีนที่เชื่อว่า สีแดง เป็นสีแห่งความเป็นสิริมงคล นอกเหนือจากนั้นก็ยังมีผลไม้ น้ำชา หรือเหล้าจีน รวมไปถึงกระดาษเงินกระดาษทองด้วย
  2. ชุดที่ 2 ชุดสำหรับไหว้บรรพบุรุษ มีลักษณะคล้ายกับเครื่องเซ่นไหว้เจ้าที่ ไหว้พร้อมกับอาหารที่บรรพบุรุษชื่นชอบ ซึ่งตามธรรมเนียมจะต้องมีน้ำแกง หรือขนมน้ำใสๆ วางข้างๆ ชามข้าวสวยๆ รวมถึงชุดน้ำชาที่ต้องจัดเป็นชุดตามจำนวนของบรรพบุรุษ และที่ของไหว้ที่ขาดไปไม่ได้ คือ ขนมเทียน ขนมเข่ง ผลไม้ และกระดาษเงินกระดาษทอง
  3. ชุดที่ 3 ชุดสำหรับเซ่นไหว้วิญญาเร่ร่อน หรือวิญญาณไร้ญาติ ชาวจีนมักเรียกวิญญาณที่ไม่มีญาติเหล่านี้ว่า ไป๊ฮ๊อเฮียตี๋ มีความหมายว่า ไหว้พี่น้องที่ดี นับเป็นการสะท้อนถึงความสุขภาพและให้เกียรติกันของชาวจีนโดยเรียกผีที่ไม่มีญาติ ว่า พี่น้องที่ดีของเรา ซึ่งการไหว้จะไหว้บริเวณนอกบ้าน มีของเซ่นไหว้เป็นอาหารคาวหวานและผลไม้ตามต้องการ รวมถึงต้องมีของพิเศษ อย่าง ข้าวหอมแบบจีนโบราณ เผือกนึ่งผ่าซีกเป็นเสี้ยวใส่ถาด เส้นหมี่ห่อใหญ่ เหล้า น้ำชา และกระดาษเงินกระดาษทอง จากนั้นนำของทุกอย่างที่เตรียมไว้จัดให้วางอยู่ด้วยกันเพื่อเตรียมทำพิธีต่อไป

ขนมที่ใช้ไหว้วันสารทจีน

นสมัยโบราณชาวจีนใช้ขนมไหว้ 5 อย่าง เรียกว่า โหงวเปี้ย หรือเรียกชื่อเป็นชุดว่า ปัง เปี้ย หมี่ มั่ว กี

  1. ปัง คือขนมทึงปัง เป็นขนมที่ทำมาจากน้ำตาล
  2. เปี้ย คือขนมหนึงเปี้ย คล้ายขนมไข่
  3. หมี่ คือขนมหมี่เท้า ทำมาจากแป้งข้าวเจ้าข้างในไส้เต้าซา
  4. มั่ว คือขนมทึกกี่ เป็นขนมข้าวพองสีแดงตรงกลางมีไส้เป็นแผ่นบาง
  5. กี คือขนมทึงกี ทำเป็นชิ้นใหญ่ยาว เวลาจะกินต้องตัดเป็นชิ้นเล็กๆ

7 ข้อห้ามทำเมื่อถึงสารทจีน

Chinese Sart Day5

  1. ห้ามแต่งงานในเดือนนี้
  2. ห้ามเดินทางบ่อยในเดือนนี้
  3. ห้ามอยู่นอกบ้านช่วงดึกดื่นในเดือนนี้
  4. ห้ามซื้อบ้าน / ห้ามย้ายบ้านในเดือนนี้
  5. ห้ามเริ่มงานก่อสร้างใดๆ ในเดือนนี้
  6. ห้ามดำเนินการเริ่มธุรกิจใดๆ ในเดือนนี้
  7. ห้ามว่ายน้ำตอนกลางคืนในเดือนนี้

ข้อมูลจาก : https://guru.sanook.com/4336/

บทความที่เกี่ยวข้อง

วันอาทิตย์, 01 กันยายน 2562 19:11

วันสืบ นาคะเสถียร

สืบ นาคะเสถียร นักอนุรักษ์ไทย ผู้ที่รักป่าไม้และธรรมชาติด้วยกาย วาจา และใจ - สืบ นาคะเสถียร หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัด อุทัยธานี แลกชีวิตของตนเองเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2533 เพื่อปลุกจิตสำนึกของคนในสังคมให้ตื่นขึ้น ให้รับทราบความเป็นไปของสถานการณ์ป่าไม้ และ สัตว์ป่าเมืองไทย คุณสืบ ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของความมุ่งมั่นจริงจังใน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ภายหลังการเสียชีวิตของคุณสืบ 18 วัน มูลนิธิสืบ นาคะเสถียร ได้รับการก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2533 วันเดียวกับการครบรอบ 94 ปีของกรมป่าไม้ หน่วยงานต้นสังกัดของนักอนุรักษ์นี้

มูลนิธิสืบนาคะเสถียร ได้ กำหนดขอบข่ายและทิศทางการทำงานไว้ 5 ประการคือ

  1. การสนับสนุนการจัดเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งและทุ่งใหญ่นเรศวร ตลอดจนผืนป่าอนุรักษ์ทั่วประเทศ
  2. การปรับปรุงสวัสดิการเพื่อการเสริมสร้างขวัญ และกำลังใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า
  3. งานรณรงค์ป้องกันรักษาผืนป่าอนุรักษ์และทรัพยากรธรรมชาติ ภายใต้การรณรงค์แนวความคิด "ไม่มีป่า ไม่มีน้ำ"
  4. งานประชาสัมพันธ์และปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อขยายแนวร่วม และเผยแพร่งานอนุรักษ์ส่วนกว้าง
  5. งานส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยสัตว์ป่า โดยจัดตั้งกองทุนสัตว์ป่าขึ้น

Sueb Nakhasathien1

 

ประวัติสืบ นาคะเสถียร

          สืบ นาคะเสถียร หรือนามเดิมชื่อ "สืบยศ" เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2492 ที่ตำบลท่างาม อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี บิดาชื่อ นายสลับ นาคะเสถียร เคยดำรงตำแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัด ปราจีนบุรี มารดาชื่อ นางบุญเยี่ยม นาคะเสถียร สืบ นาคะเสถียรมีพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยสืบ นาคะเสถียร เป็นบุตรชายคนโต น้องชายและน้องสาวอีก 2 คนคือคุณกอบกิจ นาคะเสถียรและคุณกัลยา รักษาสิริกุล คุณสืบมีบุตรสาว 1 คน ชื่อชินรัตน์ นาคะเสถียร ในวัยเด็ก สืบ นาคะเสถียร ได้ช่วยงานในนาของมารดา ทำงานอยู่กลางแจ้งทั้งวันโดยไม่ปริปากบ่น บุคลิกประจำตัว คือเมื่อเขาสนใจหรือตั้งใจทำอะไรแล้วก็จะมีความมุ่งมั่น ตั้งใจทำอย่างจริงจังจนประสบความสำเร็จ ครั้นเรียนจบชั้นประถม 4 ต้องจากครอบครัวไปเรียนอยู่ที่ โรงเรียนเซนหลุยส์ จังหวัดฉะเชิงเทรา จนกระทั่งเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

          พ.ศ.2511 เข้าศึกษาในคณะวนศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สืบมีความตั้งใจในการศึกษาอย่างเต็มประสิทธิภาพและเข้าร่วมกิจกรรมนิสิต โดยเป็นที่ทราบกันดีระหว่างผู้ใกล้ชิดว่า สืบ นาคะเสถียร เป็นผู้มีใจรักศิลปะ และสูงส่งในเชิงมนุษยสัมพันธ์ มีระเบียบในการดำเนินชีวิตในสมัยเรียนอย่างมีแบบแผน พ.ศ.2514 จบการศึกษาจาก คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต่อมา พ.ศ.2516 สืบ นาคะเสถียรเข้าทำงานที่ส่วนสาธารณะของการเคหะแห่งชาติ

          พ.ศ.2517 สืบเข้าศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาวิชาวนวัฒน์วิทยา ที่คณะวนศาสตร์ มหาลัยเกษตรศาสตร์ จนสำเร็จการศึกษา และในปีพ.ศ.2518 ได้เริ่มชีวิตข้าราชการ โดยบรรจุเข้ารับราชการ ตำแหน่งพนักงานป่าไม้ตรี กองอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมป่าไม้ และเริ่มชีวิตข้าราชการกรมป่าไม้

          เมื่อปี พ.ศ.2518 ใน กองอนุรักษ์สัตว์ป่า ซึ่งขณะนั้นเป็นเพียงหน่วยงานเล็ก ๆ ที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น เขาตัดสินเลือกกองนี้เพราะต้องการทำงาน เกี่ยวกับสัตว์ป่ามากกว่างานที่เกี่ยวพันกับผลประโยชน์ ป่าไม้โดยตรง สืบ เริ่มงานครั้งแรกที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่ จังหวัดชลบุรี ได้ผลักดันให้สืบ ต้องเข้าไปทำหน้าที่ผู้รักษากฎหมาย อย่างเลี่ยงไม่พ้น ที่นั่นเขาได้จับกุม ผู้บุกรุกทำลายป่าโดยไม่เกรงอิทธิพลใดๆ ผู้ต้องหาล้วนได้รับการปฏิบัติอย่างสุภาพนิ่มนวล และที่นี่ สืบเริ่มเรียนรู้ว่า การเป็นเจ้าหน้าที่ป่าไม้ที่ซื่อสัตย์ นั้นเจ็บปวดเพียงไหน

          สืบทำงาน อยู่ 3-4 ปี ในปี พ.ศ.2522 สืบก็ได้รับทุนจาก British Council ไปเรียนระดับปริญญาโท สาขาอนุรักษ์วิทยาที่มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ จากนั้น พ.ศ.2524 กลับมารับตำแหน่งหัวหน้าเขต ห้ามล่าสัตว์ป่า บางพระ มีส่วนร่วมในการจัดการและประสานงาน รวมทั้งเป็นวิทยากร ฝึกอบรมพนักงาน พิทักษ์ป่าอีกหลายรุ่น จนกระทั่ง พ.ศ.2526 สืบได้ขอย้ายตัวเอง เข้ามาเป็นนักวิชาการ กองอนุรักษ์สัตว์ป่า ทำหน้าที่วิจัยสัตว์ป่าเพียงอย่างเดียว “ผมหันมาสนใจงานวิจัยมากกว่าที่จะวิ่งไปจับคน เพราะรู้ว่าจับได้แต่คนตัวเล็ก ๆ ตัวใหญ่ ๆ จับไม่ได้ก็เลย อึดอัดว่ากฎหมายบ้านเมืองนั้นมันใช้ไม่ได้กับทุกคน มันเหมือนกับว่าเราไม่ยุติธรรมเรารังแกชาวบ้าน

          ในระยะนี้ เป็นจังหวะที่สืบได้แสดงความเป็นนักวิชาการออกมาอย่างเต็มที่ งานวิจัยศึกษาสัตว์ป่าเป็นงานที่สืบ ทำได้ดีและมีความสุขในการทำงานวิชาการมาก สืบรักงานด้านนี้เป็นชีวิต จิตใจ อันเป็นจุดเริ่มต้นที่เขาได้ผูกพัน กับสัตว์ป่าอย่างจริงจัง เขาเริ่มใช้เครื่องมือต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกล้อง วีดีโอ กล้องถ่ายภาพนิ่งและการสเก็ตซ์ภาพ ในการบันทึกงานวิจัยทั้งหมด ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้กลาย เป็นผลงานการวิจัยสัตว์ป่าชิ้นสำคัญของเมืองไทยในเวลาต่อมา

          และในเวลา ต่อมา พ.ศ.2529 สืบได้รับมอบหมาย ปฏิบัติงานในหน้าที่ หัวหน้าโครงการอพยพสัตว์ป่าตกค้าง ในพื้นที่อ่างเก็บน้ำ เขื่อนรัชชประภา (เชี่ยวหลาน) จังหวัด สุราษฏร์ธานี ให้เข้าไปช่วยเหลืออพยพสัตว์ป่าที่ตกค้าง ในอ่างเก็บน้ำ ซึ่งเกิดจากการสร้างเขื่อนเชี่ยวหลาน สืบได้ทุ่มเทเวลาให้กับการกู้ชีวิตสัตว์ป่าที่หนีภัยน้ำท่วม โดยไม่ได้นึกถึง ความปลอดภัยของตนเองเลย จากการทำงานชิ้นดังกล่าวสืบ นาคะเสถียรเริ่มเข้าใจ ปัญหาทั้งหมดอย่างถ่องแท้ เขาตระหนักว่าลำพังงาน วิชาการเพียงอย่างเดียว ย่อมไม่อาจหยุดยั้งกระแส การทำลาย ป่าและสัตว์ป่าอันเป็นปัญหา ระดับชาติได้ ดังนั้น เมื่อมีกรณี รัฐบาลจะสร้างเขื่อนน้ำโจน ในบริเวณทุ่งใหญ่ฯ สืบจึงโถมตัวเข้าคัดค้านเต็มที่

          พ.ศ.2531 สืบได้กลับเข้ามารับราชการที่กองอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมป่าไม้ และต่อมา พ.ศ.2532 สืบ นาคะเสถียร ได้เข้ารับตำแหน่งหัวหน้าเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

          สืบได้พยายามในการที่จะ เสนอให้ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร และห้วยขาแข้งมีฐานะเป็นมรดกของโลก โดยได้รับการยกย่องอย่างเป็นทางการ จากองค์การ สหประชาชาติ สืบเล็งเห็นว่า ฐานะดังกล่าวจะเป็นหลักประกัน สำคัญที่คอยคุ้มครองป่าผืนนี้เอาไว้ อย่างถาวร ปลายปี พ.ศ. 2532 สืบได้รับทุน ไปเรียนต่อระดับปริญญาเอก ที่ประเทศอังกฤษ พร้อม ๆ กับได้รับมอบหมาย ให้ดำรงตำแหน่ง หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ซึ่งเป็นป่าอนุรักษ์ที่มีความสำคัญมากไม่แพ้ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร แต่ในที่สุด สืบ ก็ตัดสินใจเดินทางเข้ารับตำแหน่ง หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง แม้จะรู้ดีว่าหนทางข้างหน้าเต็มไปด้วย ความยากลำบากนานัปการ

Sueb Nakhasathien2

          เช้ามืดวันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2533 สืบ นาคะเสถียร ตัดสินใจผ่าทางตันด้วยการสั่งเสียลูกน้อง คนสนิท และเขียนจดหมายสั่งลา 6 ฉบับ ชำระสะสางภาระ รับผิดชอบและทรัพย์สินส่วนตัวที่คั่งค้าง มอบหมาย เครื่องใช้ และอุปกรณ์ในการศึกษาวิจัยด้านสัตว์ป่า ให้สถานีวิจัย สัตว์ป่าเขานางรำ เพื่อนำไปใช้ตาม วัตถุประสงค์ดังกล่าว ตั้งศาลเพื่อแสดงความคารวะต่อ ดวงวิญญาณของเจ้าหน้าที่ ซึ่งพลีชีพรักษาป่าห้วยขาแข้ง แล้วสวดมนต์ไหว้พระ จนจิตใจสงบขณะที่ฟ้ามืดกำลัง เปิดม่านรับวันใหม่ เสียงปีนดังขึ้นนัดหนึ่งในราวป่าลึก ที่ห้วยขาแข้ง สืบ นาคะเสถียร ก็ปิดม่านชีวิตของเขาลง และเป็นบทเริ่มต้น ตำนานนักอนุรักษ์ไทย สืบ นาคะเสถียร ผู้ที่รักป่าไม้ สัตว์ป่าและธรรมชาติ ด้วยกาย วาจา

          หลังจากนั้นอีกสองอาทิตย์ต่อมา ห่างจากบริเวณที่เกิดเสียงปืนดังขึ้นไม่กี่สิบเมตรบรรดาเจ้าหน้าที่ ระดับสูงของกรมป่าไม้ รวมทั้งผู้ว่าราชการจังหวัด นายทหาร นายตำรวจชั้นผู้ใหญ่ นายอำเภอ ป่าไม้เขต และ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ อีกนับร้อยคน ต่างกุลีกุจอมาประชุมกันที่ห้วยขาแข้ง อย่างแข็งขัน เพื่อหามาตรการป้องกันการบุกรุก ทำลายป่าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง สืบ นาคะเสถียร รอวันนี้มาตั้งแต่วันแรกที่เขามาดำรงตำแหน่ง หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งนี้แล้ว แต่หากไม่มีเสียงปืนนัดนั้น การประชุมดังกล่าวก็คงไม่เกิดขึ้นเช่นกัน

ข้อมูลจาก : https://guru.sanook.com/4257/

บทความที่เกี่ยวข้อง

 

บุญข้าวประดับดิน ประวัติบุญข้าวประดับดิน บุญเดือนเก้า ประเพณีภาคอีสาน ที่จัดขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว และสัตว์นรกหรือเปรต ประเพณีบุญข้าวประดับดิน บุญเดือนเก้า เป็นอีกหนึ่งประเพณีที่สืบทอดกันมาในภาคอีสาน โดยบุญข้าวประดับดิน เป็นงานประเพณีที่ถูกจัดขึ้นในวันแรม 14 ค่ำ เดือนเก้า ของทุก ๆ ปี

ทั้งนี้ในการทำบุญข้าวประดับดินนั้น ชาวบ้านจะนำข้าวปลา อาหาร คาวหวาน ผลไม้ หมาก พลู บุหรี่ มาห่อด้วยใบตอง และทำเป็นห่อเล็ก ๆ ก่อนจะนำไปวางตามโคนต้นไม้ใหญ่หรือตามพื้นดินบริเวณรอบ ๆ เจดีย์ หรือโบสถ์ โดยการทำบุญข้าวประดับดินนี้ ชาวบ้านเชื่อว่า เป็นการทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว รวมถึงอุทิศส่วนกุศลให้กับสัตว์นรก หรือเปรต

นอกจากนี้ บุญข้าวประดับดิน ยังถือว่าเป็นการให้ทานแก่ผู้ยากไร้รวมทั้งสัตว์ที่ไม่มีเจ้าของ ที่ต้องหิว อดมื้อกินมื้อมาตลอดทั้งปีอีกด้วย เพราะการที่ตั้งอาหารไว้ที่พื้นทำให้สัตว์เหล่านั้นสามารถเข้ามากินอาหารได้อย่างเต็มที่

12

ความเป็นมาบุญข้าวประดับดิน

การทำบุญข้าวประดับดินนี้ เกิดจากความเชื่อตามนิทานธรรมบทว่า ญาติของพระเจ้าพิมพิสาร ได้ยักยอกเงินวัดไปเป็นของตนเอง ครั้นตายไปแล้วได้ไปเกิดเป็นเปรตในนรก และเมื่อพระเจ้าพิมพิสารถวายทานแด่พระพุทธเจ้าแล้วมิได้อุทิศให้ญาติที่ตาย กลางคืนพวกญาติที่ตายมาแสดงตัวเปล่งเสียงน่ากลัวให้ปรากฏใกล้พระราชนิเวศน์ รุ่งเช้าได้เสด็จไปทูลถามพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ทูลเหตุุให้ทราบ พระเจ้าพิมพิสารจึงถวายทานอีก แล้วอุทิศส่วนกุศลไปให้ ญาติที่ตายไปจึงได้รับส่วนกุศล ดังนั้น การทำบุญข้าวประดับดิน คือการทำเพื่ออุทิศส่วนกุศลแก่ญาติผู้ตายแล้ว ถือเป็นประเพณีที่ต้องทำเป็นประจำทุกปี

พิธีกรรมบุญข้าวประดับดิน มีดังนี้

  1. วันแรม 13 ค่ำ เดือน 9 ชาวบ้านจะเตรียมข้าวต้ม ขนม อาหารคาวหวาน หมาก พลู และบุหรี่ไว้ 4 ส่วน ส่วนหนึ่งเลี้ยงดูกันภายในครอบครัว ส่วนที่สองแจกให้ญาติพี่น้อง ส่วนที่สามอุทิศให้ญาติที่ตายไปแล้ว และส่วนที่สี่นำไปถวายพระสงฆ์ ในส่วนที่สาม ญาติโยมจะห่อข้าวน้อย ซึ่งมีวิธีการห่อคือ ใช้ใบตองห่อขนาดเท่าฝ่ามือ ส่วนความยาวนั้นให้ยาวสุดซีกของใบตอง
  2. วันแรม 14 ค่ำ เดือน 9 ชาวบ้านจะไปวัดตั้งแต่เวลาตี 4 เพื่อนำสิ่งของที่เตรียมไว้จัดใส่กระทง หรือเย็บเป็นห่อเหมือนข้าวสากไปวางอุทิศส่วนกุศลตามที่ต่าง ๆ ซึ่งการวางแบบนี้ เรียกว่า การวางห่อข้าวน้อย แต่หากเป็นการนำไปวางในวัด จะเรียกว่า การยาย (วางเป็นระยะ ๆ ) ห่อข้าวน้อย ซึ่งเวลานำไปวางจะพากันไปทำอย่างเงียบ ๆ ไม่มีการตีฆ้อง ตีกลองแต่อย่างใด
  3. หลังจากวางเสร็จแล้ว ชาวบ้านจะกลับบ้านเพื่อเตรียมอาหารทำบุญที่วัดอีกทีหนึ่งในตอนเช้า เมื่อพระสงฆ์ฉันเช้าเสร็จก็จะเทศน์ฉลองบุญข้าวประดับดิน ต่อจากนั้น ชาวบ้านจะนำปัจจัยไทยทานถวายแด่พระสงฆ์ เมื่อพระสงฆ์ให้พรเสร็จ ชาวบ้านที่มาทำบุญก็จะกรวดน้ำ อุทิศส่วนกุศลไปให้ญาติผู้ที่ล่วงลับไปแล้วทุก ๆ คน

795px rice wrap in rice soil adorn merit

สำหรับอาหารคาวหวานที่ใส่ห่อในการทำบุญข้าวประดับดิน อาจมีดังนี้

  1. ข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้วปั้นเป็นก้อนเล็กๆ ขนาดเท่าหัวแม่มือ 1 ก้อน
  2. เนื้อปลา เนื้อไก่ หมู และใส่ลงไปเล็กน้อย ถือว่าเป็นอาหารคาว
  3. กล้วย น้อยหน่า ฝรั่ง มะละกอ มันแกว อ้อย มะละกอสุก หรือขนมหวานอื่น ๆ ลงไป (ถือเป็นอาหารหวาน)
  4. หมากหนึ่งคำ บุหรี่หนึ่งมวน เมี่ยงหนึ่งคำ

พอได้เรียนรู้ประเพณีดี ๆ ของภาคอีสาน อย่างประเพณีบุญข้าวประดับดิน บุญเดือนเก้ากันแล้ว ก็เชื่อว่าหลาย ๆ คนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ภาคอีสานคงช่วยกันสานต่อประเพณีบุญข้าวประดับดิน บุญเดือนเก้า ให้รุ่นลูก รุ่นหลานได้มีโอกาสเรียนรู้ประเพณี และวัฒนธรรมดี ๆ แบบนี้ด้วยเช่นกัน

123ข้อมูลจาก : https://hilight.kapook.com/view/90700

บทความที่เกี่ยวข้อง

วันพฤหัสบดี, 22 สิงหาคม 2562 19:33

โยนไข่ไม่แตก กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์

กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ จัดขึ้นในวันที่ 22 สิงหาคม 2562 เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร์ สามารถนำความรู้วิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ และได้แสดงความรู้ความสามารถตามความถนัดอย่างสร้างสรรค์ และการโยนไข่จากที่สูงไม่ให้แตกก็เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ช่วยให้นักเรียนรู้จักคิดค้นหาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อคำนวณไม่ให้ไข่แตก ดังคลิปวิดีโอที่ท่านจะได้ชมต่อไปนี้

บทความที่เกี่ยวข้อง

วันพุธ, 17 กรกฎาคม 2562 09:54

วันเข้าพรรษา

วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญวันหนึ่งในพระพุทธศานาที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดฤดูฝนเป็นระยะเวลา 3 เดือนตามที่พระธรรมวินัยได้บัญญัติไว้โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรืออาจพูดเป็นภาษาทั่วไปว่า จำพรรษา (พรรษา แปลว่า ฤดูฝน , จำ แปลว่า พักอยู่) พิธีเข้าพรรษานี้ถือว่าเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยตรง ไม่สามารถละเว้นได้ทุกกรณี ซึ่งการเข้าพรรษาตามปกติจะเริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี (หรือเดือน 8 หลัง ถ้ามีเดือน 8 สองหน) และจะสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา

 2

ความเป็นมาของวันเข้าพรรษา

          วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึง วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือว่าเป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธที่สำคัญวันหนึ่งของประเทศไทย โดยมีกำหนดระยะเวลา 3 เดือนในช่วงฤดูฝน ซึ่งวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) พุทธศาสนิกชนชาวไทย รวมถึงพระมหากษัตริย์และบุคคลทั่วไปได้สืบทอดประเพณีการปฏิบัติและการทำบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานตั้งแต่สมัยสุโขทัย

          สาเหตุที่พระพุทธเจ้าได้ทรงอนุญาตให้จำพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอดระยะเวลา 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น ก็เพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักจากการจาริกเผยแพร่ศาสนายังสถานที่ต่างๆ ที่จะเป็นไปด้วยความยากลำบากในช่วงฤดูฝน โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงเวลาจำพรรษตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาส หรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่งเพื่อศึกษาพระธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ นับว่าเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วยเอง อีกทั้งในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอด 3 เดือนนั้น พุทธศาสนิกชนชาวไทยถือว่าเป็นโอกาสอันดีที่จะได้บำเพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดทำบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา และนับเป็นโอกาสพิเศษที่มากกว่าวันสำคัญอื่นๆ โดยในวันเริ่มต้นพรรษานี้ จะมีการถวายหลอดไฟ หรือเทียนเข้าพรรษา และผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์ เพื่อไว้สำหรับให้พระสงฆ์ได้ใช้ตลอดการอยู่จำพรรษา ซึ่งในอดีต ชายไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชนและมีอายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า บวชเอาพรรษา

          นอกจากนี้เมื่อปี พ.ศ. 2551 รัฐบาลได้ประกาศให้วันเข้าพรรษาเป็น วันงดดื่มสุราแห่งชาติ ซึ่งในปีถัดมายังได้ประกาศให้วันเข้าพรรษาเป็นวันที่ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้ เพื่อเป็นการรณรงค์ให้ชาวไทยตั้งสัจจะอธิษฐานงดการดื่มสุราในวันเข้าพรรษาและในช่วง 3 เดือนระหว่างฤดูเข้าพรรษา หวังเพื่อเป็นการส่งเสริมค่านิยมที่ดีให้แก่สังคมไทย

kps001

ความสำคัญของวันเข้าพรรษา

  1. ช่วงวันเข้าพรรษา เป็นช่วงเวลาที่ชาวบ้านจะประกอบอาชีพทำไร่ทำนา ดังนั้นการกำหนดให้ภิกษุสงฆ์หยุดการเดินทางจาริกไปในสถานที่ต่างๆ จะช่วยให้ต้นกล้าของพันธุ์พืช ตลอดจนสัตว์เล็กสัตว์น้อยไม่ได้รับความเสียหายจากการเดินธุดงค์
  2. หลังจากเดินทางจาริกไปเผยแพร่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 – 9 เดือน ช่วงเข้าพรรษาจะเป็นช่วงที่ให้พระสงฆ์ได้หยุดพักผ่อน
  3. วันเข้าพรรษา เป็นช่วงเวลาที่พระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง อีกทั้งยังได้ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย ตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา
  4. เพื่อจะได้มีโอกาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันจะเป็นกำลังสำคัญในการเผยแพร่พระพุทธศาสนาต่อไป
  5. เพื่อเป็นการให้พุทธศาสนิกชนได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ อาทิ ทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดช่วงเวลาเข้าพรรษาอีกด้วย

khaopansa header

ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์

ถึงแม้ว่าการเข้าพรรษาจะถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรงที่ไม่สามารถละเว้นได้ไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตาม แต่ในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้นอาจมีกรณีจำเป็นบางอย่างที่ทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างแรมที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณีๆ ไป ซึ่งได้มีระบุไว้ในพระไตรปิฎก ส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนา หรือการอุปัฏฐานบิดามารดา ทั้งนี้ ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน การออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่า สัตตาหกรณีย พระพุทธเจ้าได้ทรงระบุเหตุต่างๆ เอาไว้ในกรณีจะออกจากที่จำพรรษาไปชั่วคราวได้ ดังนี้

  1. การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุ หรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 และบิดามารดา
  2. การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้ กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5
  3. การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด หรือการไปทำสังฆกรรม อาทิ สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เป็นต้น
  4. หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ให้ไปทายกได้โดยให้ทาน รับศีล ฟังเทศนาธรรมได้ ในกรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ก็จะไปค้างไม่ได้

หากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด 7 วันตามพระวินัยก็ถือว่าขาดพรรษา และเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคำ (รับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้) แต่ในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้ว ไม่ถือว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องได้ แต่หากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะและต้องกลับมาภายใน 7 วันเพื่อไม่ให้ขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฎดังกล่าว

กิจกรรมวันเข้าพรรษา

  1. ร่วมกิจกรรมทำเทียนจำนำพรรษาและถวายเทียนพรรษา
  2. ร่วมกิจกรรมถวายผ้าอาบน้ำฝน และจตุปัจจัยแก่ภิกษุสามเณร
  3. ร่วทำบุญ ตักบาตร ฟังธรรมเทศนา รักษาอุโบสถศีล
  4. อธิษฐาน งดเว้นอบายมุขต่าง ๆ

ข้อมูลจาก : th.wikipedia.org / eng.bu.ac.th

บทความที่เกี่ยวข้อง

วันจันทร์, 29 กรกฎาคม 2562 08:11

วันภาษาไทยแห่งชาติ

วันภาษาไทย

          ภาษาเป็นระบบการสื่อสารที่สำคัญอย่างหนึ่งของมนุษย์ เพราะมนุษย์ต้องใช้ภาษาในการติดต่อ บอกความประสงค์ ความรู้สึกนึกคิด ถ่ายทอดประสบการณ์ และความรู้แก่กัน ภาษาไทยก็เป็นภาษาที่ใช้เป็นสื่อในการแสดงความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และวัฒนธรรมของชาติ ซึ่งมีลักษณะเด่นเฉพาะตัวและมีเอกลักษณ์แตกต่างจากภาษาอื่น  การที่คนไทยเรา พูด อ่าน และเขียนภาษาไทยเป็นประจำทุกวันจนเกิดความเคยชิน อาจจะทำให้หลายๆ คนไม่รู้สึกว่า “ภาษาไทย” มีความสำคัญแค่ไหน และมีคุณค่าเพียงไร หากจะเปรียบก็คงเหมือนกับ “อากาศ” ที่เราหายใจเข้าหายใจออกอยู่ตลอดเวลา จนเราแทบไม่รู้ค่า ว่าหากขาดอากาศเมื่อไร เราก็ตายเมื่อนั้น ถึงแม้ว่า “ภาษาไทย” จะไม่เหมือนอากาศที่ทำให้เราถึงกับตาย แต่ถ้าหากชาติไทยเราขาด “ภาษาไทย” เมื่อไร นั่นก็หมายความว่า “ความเป็นชาติ” ส่วนหนึ่งก็สูญสิ้นไปด้วย

cu100 story 094 01

ความเป็นมาของวันภาษาไทยแห่งชาติ

          คณะกรรมการรณรงค์เพื่อภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของภาษาไทย และมีความห่วงใยในปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นต่อภาษาไทย และเพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้คนไทยทั้งชาติได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของภาษาไทย ตลอดจนร่วมมือกันทำนุบำรุง ส่งเสริม และอนุรักษ์ภาษาไทยให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป จึงได้เสนอขอให้รัฐบาลประกาศให้วันที่ 29 กรกฎาคม ของทุกปี เป็นวันภาษาไทยแห่งชาติ เช่นเดียวกับวันสำคัญอื่นๆ ที่รัฐบาลได้จัดให้มีมาก่อนแล้ว เช่น “วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ” และ “วันสื่อสารแห่งชาติ” เป็นต้น และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันอังคารที่ 13 กรกฎาคม 2542 เห็นชอบให้วันที่ 29 กรกฎาคม ของทุกปีเป็นวันภาษาไทยแห่งชาติ

151121088500451 15112114142657

เหตุผลของวันภาษาไทยแห่งชาติ

          ประเทศไทยมีภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติ อันเป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญอย่างหนึ่งของชาติ สมควรจะได้รับการทำนุบำรุงส่งเสริม และอนุรักษ์ไว้ให้ยั่งยืนตลอดไป ทั้งนี้ในยุคปัจจุบันวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ ได้ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วเกิดเทคนิคใหม่ๆ ในการติดต่อสื่อสาร มี่มุ่งเน้นความสะดวกรวดเร็ว ส่งผลให้ภาษาไทยซึ่งเป็นสื่อกลางสำคัญในการติดต่อและผูกพันต่อการดำรงชีวิตประจำวันของคนไทยได้รับผลกระทบ ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ทำให้ภาษาไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างน่าวิตกเป็นอย่างยิ่ง สภาพการณ์เช่นนี้หากไม่เร่งรีบหาทางแก้ไขและป้องกันเสียแต่เนิ่นๆ การใช้ภาษาไทยของเราก็จะยิ่งเสื่อมลง จะส่งผลเสียหายต่อเอกลักษณ์และคุณค่าของภาษาไทยเป็นทวีคูณ

25190 thaihealth acehmuz14578

ทำไมต้องกำหนดวันที่ 29 กรฎาคม เป็น "วันภาษาไทยแห่งชาติ"

          เพราะวันดังกล่าว ตรงกับวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินไปเป็นประธานและทรงร่วมอภิปรายในการประชุมทางวิชาการของชุมนุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ ห้องประชุมคณะอักษรศาสตร์ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2505 ทรงเปิดการอภิปรายในหัวข้อ “ปัญหาการใช้คำไทย” ทรงดำเนินการอภิปรายและทรงสรุปการอภิปรายอย่างดีเยี่ยม แสดงถึงพระปรีชาสามารถและความสนพระราชหฤทัยและความห่วงใยในภาษาไทย เป็นที่ประทับใจผู้เข้าร่วมการประชุมในครั้งนั้นเป็นอย่างยิ่ง นับเป็นครั้งแรกและครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ของวงการภาษาไทย ที่ได้รับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณดังกล่าว และในโอกาสต่อๆ มาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังได้ทรงแสดงความสนพระราชหฤทัยและความห่วงใยในภาษาไทยอีกหลายโอกาส เช่น ได้พระราชทานพระราชดำรัสเกี่ยวกับปัญหาในการใช้ภาษาไทยของประชาชนชาวไทยในปัจจุบัน ในวโรกาสที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ข้าราชการและองค์กรเอกชนเข้าเฝ้าถวายชัยมงคล เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา เจริญพระชนมายุครบ 6 รอบ

          นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงย้ำให้ประชาชนชาวไทยตระหนักถึงความสำคัญของภาษาไทยและพระราชทานแนวความคิดในการอนุรักษ์ภาษาไทยในโอกาสต่าง ๆ อยู่เสมอ ที่สำคัญยิ่งกว่านี้ คือ เป็นที่ประจักษ์ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระปรีชาญาณและพระอัจฉริยภาพในการใช้ภาษาไทยทรงรอบรู้ปราดเปรื่องถึงรากศัพท์ของคำไทย คือ ภาษาบาลีและสันสกฤต ทรงพระอุตสาหะวิริยะแปลและเรียบเรียงวรรณกรรมภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทยที่สมบูรณ์ด้วยลักษณะวรรณศิลป์ มีเนื้อหาสาระที่มีคุณค่าเป็นคติในการเสียสละเพื่อส่วนรวม และเป็นแบบอย่างแก่ประชาชนในการใช้ภาษาไทย ดังจะเห็นได้จากพระราชนิพนธ์แปลเรื่องนายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ ติโต พระราชนิพนธ์แปลบทความเรื่องสั้นๆ หลายบท และพระราชนิพนธ์ เรื่อง พระมหาชนก นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมที่สุดมิได้แก่วงการ

          พระราชดำรัสในครั้งนั้น ตอนหนึ่งความว่า “เรามีโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะในด้านรักษาภาษานี้ก็มีหลายประการ อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางออกเสียง คือให้ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในวิธีใช้ หมายความว่าวิธีใช้คำมาประกอบประโยค นับเป็นปัญหาที่สำคัญ ปัญหาที่สาม คือความร่ำรวยในคำของภาษาไทย ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่ร่ำรวยพอ จึงต้องมีการบัญญัติศัพท์ใหม่มาใช้ ...... สำหรับคำใหม่ที่ตั้งขึ้นมีความจำเป็นในทางวิชาการไม่น้อย แต่บางคำที่ง่ายๆ ก็ควรจะมี ควรจะใช้คำเก่าๆที่เรามีอยู่แล้ว ไม่ควรจะมาตั้งศัพท์ใหม่ให้ยุ่งยาก ...” นอกจากนี้ยังมีพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2512 ความว่า “ในปัจจุบันนี้ปรากฏว่า ได้มีการใช้คำออกจะฟุ่มเฟือย และไม่ตรงกับความหมายอันแท้จริงอยู่เนืองๆ ทั้งออกเสียงก็ไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ถ้าปล่อยให้เป็นไปดังนี้ ภาษาของเราก็มีแต่จะทรุดโทรม ชาติไทยเรามีภาษาของเราใช้เองเป็นสิ่งอันประเสริฐอยู่แล้ว เป็นมรดกอันมีค่าตกทอดมาถึงเราทุกคน จึงมีหน้าที่จะตัองรักษาไว้ ฉะนั้น จึงขอให้บรรดานิสิตและบัณฑิต ตลอดจนครูบาอาจารย์ได้ช่วยกันรักษาและส่งเสริมภาษา ซึ่งเป็นอุปกรณ์และหลักประกันเพื่อความเจริญวัฒนาของประเทศชาติ”

วัตถุประสงค์ของวันภาษาไทยแห่งชาติ

  1.  เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ผู้ทรงเป็นนักปราชญ์ และนักภาษาไทย รวมทั้งเพื่อน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ที่ได้ทรงแสดงความห่วงใยและพระราชทานแนวคิดต่างๆ เกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย
  2. เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ ในวันที่ 5 ธันวาคม 2542
  3. เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกของคนไทยทั้งชาติให้ตระหนักถึงความสำคัญและคุณค่าของภาษาไทย ตลอดจนร่วมมือร่วมใจกันทำนุบำรุงส่งเสริม และอนุรักษ์ภาษาไทย ซึ่งเป็นเอกลักษณ์และเป็นสมบัติวัฒนธรรมอันล้ำค่าของชาติให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป
  4. เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการใช้ภาษาไทย ทั้งในวงวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งเพื่อยกมาตรฐานการเรียนการสอนภาษาไทยในสถานศึกษาทุกระดับให้มีสัมฤทธิผลยิ่งขึ้น
  5. เพื่อเปิดโอกาสให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐบาลและเอกชนทั่วประเทศมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อเผยแพร่ความรู้ภาษาไทยในรูปแบบต่างๆ ไปสู่สาธารณชนทั้งในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ และในฐานะที่เป็นภาษาเพื่อการสื่อสารของทุกคนในชาติ

ประโยชน์ที่ได้รับจากการมีวันภาษาไทยแห่งชาติ คาดว่าจะมีผลดีสืบเนื่องหลายประการ คือ

  1. การมี “วันภาษาไทยแห่งชาติ” จะทำให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐบาลและเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงานในกระทรวงศึกษาธิการ และทบวงมหาวิทยาลัย ตระหนักในความสำคัญของภาษาไทย และร่วมกันจัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นเตือน เผยแพร่ และเน้นย้ำให้ประชาชนเห็นความสำคัญของ “ภาษาประจำชาติ” ของคนไทยทุกคน และร่วมมือกันอนุรักษ์การใช้ภาษาไทยให้มีความถูกต้องงดงามอยู่เสมอ
  2. บุคคลในวงวิชาชีพต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาไทย โดยเฉพาะในวงการศึกษา และวงการสื่อสาร ช่วยกันกวดขันดูแลให้การใช้ภาษาไทยเป็นไปอย่างถูกต้อง เหมาะสม มิให้ผันแปรเปลี่ยนแปลง จนเกิดความเสียหายแก่คุณลักษณะของภาษาไทยอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ
  3. ผลสืบเนื่องในระยะยาว คาดว่าปวงชนชาวไทยทั่วประเทศจะตื่นตัวและสนใจที่จะร่วมกันฟื้นฟู ทำนุบำรุง ส่งเสริมและอนุรักษ์ภาษาไทย อันเป็นเอกลักษณ์และสมบัติวัฒนธรรมที่สำคัญของชาติให้ดำรงคงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป

กิจกรรมในวันภาษาไทยแห่งชาติ

          เชิญชวนให้สถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน จัดกิจกรรมเนื่องใน “วันภาษาไทยแห่งชาติ” ในวันภาษาไทยแห่งชาติ โดยจัด ในวันที่ 29 กรกฎาคม ของทุกปี โดยมีกิจกรรมต่าง ๆ เช่นการจัดนิทรรศการ การอภิปรายทางวิชาการ การประกวดแต่งคำประพันธ์ ร้อยแก้ว ร้อยกรอง การขับเสภา การเล่านิทาน ฯลฯ

ข้อมูลจาก : www.aksorn.com

บทความที่เกี่ยวข้อง

วันอาทิตย์, 04 สิงหาคม 2562 19:47

4 สิงหาคม วันสื่อสารแห่งชาติ

ความเป็นมาของวันสื่อสารแห่งชาติ

          ตามประวัติความเป็นมาของวันสื่อสารแห่งชาติ ขอย้อนกลับไปในปี พ.ศ. 2526 คณะกรรมการจัดงานปีการสื่อสารโลก ได้พิจารณาเห็นว่าวันที่ 4 สิงหาคม 2426 เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา "กรมไปรษณีย์" และ "กรมโทรเลข" ขึ้นในประเทศไทย ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญของกิจการสื่อสารของประเทศ และได้ทรงแต่งตั้งให้สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช เป็นอธิบดีผู้สำเร็จราชการทั้งกรมไปรษณีย์และกรมโทรเลขเป็นพระองค์แรก เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ที่ได้ทรงมีแก่กิจการไปรษณีย์ไทย คณะรัฐมนตรีจึงมีมติ เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2526 กำหนดให้ วันที่ 4 สิงหาคม ของทุกปีเป็น "วันสื่อสารแห่งชาติ" และจัดงาน "วันสื่อสารแห่งชาติ" ครั้งแรกได้จัดในปี พ.ศ. 2526 โดยจัดร่วมกับงาน "ครบรอบ 100 ปี ของการสถาปนากรมไปรษณีย์โทรเลข" และการเฉลิมฉลอง "ปีการสื่อสารโลก" ของสหประชาชาติด้วย

          ส่วนในปัจจุบัน เทคโนโลยีด้านการสื่อสารได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ และบทบาทของภาคเอกชนมีมากขึ้น รวมทั้งการแข่งขันในกิจการสื่อสารทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก ได้ทวีความเข้มข้นยิ่งขึ้น ความได้เปรียบในเรื่องเศรษฐกิจของโลกในยุคโลกาภิวัตน์ ขึ้นอยู่กับการมีระบบการสื่อสารให้เจริญก้าวหน้า ทัดเทียมกับประเทศอื่น คณะรัฐมนตรีได้ตระหนักถึงบทบาทความสำคัญของการสื่อสารดังกล่าวเป็นอย่างดี จึงได้มีการจัดงานวันสื่อสารแห่งชาติขึ้นเป็นประจำทุกปี (ยกเว้นปี พ.ศ. 2533 คณะกรรมการจัดงานวันสื่อสารแห่งชาติได้มีมติให้งดการจัดแสดงนิทรรศการ คงมีแต่เฉพาะงานพิธีและการประชุมทางวิชาการเรื่องเทคโนโลยีพื้นฐานและการวางแผนระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม) และในการจัดงานวันสื่อสารแห่งชาติแต่ละปี จะเน้นหัวข้อการจัดงานแตกต่างกันไปทุกปี เช่น

  • พ.ศ. 2528 หัวข้อการจัดงาน คือ การสื่อสารกับเยาวชนแห่งชาติ
  • พ.ศ. 2530 หัวข้อการจัดงาน คือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการสื่อสาร
  • พ.ศ. 2535 หัวข้อการจัดงาน คือ การสื่อสารเพื่อทศวรรษหน้า
  • พ.ศ. 2538 หัวข้อการจัดงาน คือ การสื่อสารกับการพัฒนาเทคโนโลยีการสนเทศ เนื่องจากรัฐบาลได้ประกาศให้ปี พ.ศ. 2538 เป็นปีเทคโนโลยีสารสนเทศไทย

20190803110151 new18

ในวันสื่อสารแห่งชาติ ได้มีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่

  1. พิธีถวายเครื่องสักการะพระอนุสาวรีย์สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
  2. การกล่าวคำปราศรัยของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย
  3. การจัดทำดวงตราไปรษณียากรที่ระลึกวันสื่อสารแห่งประเทศไทย
  4. การจัดนิทรรศการแสดงเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม

ข้อมูลจาก : https://guru.sanook.com/4243/

บทความที่เกี่ยวข้อง

วันพุธ, 07 สิงหาคม 2562 19:01

7 สิงหาคม วันรพี

"วันรพี" (7 สิงหาคมของทุกปี) เป็นวันคล้ายวันสิ้นพระชนม์ของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ผู้ทรงได้รับการยกย่องให้เป็น "พระบิดาแห่งกฎหมายไทย" เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นนักนิติศาสตร์ และทรงวางระบบแบบแผนศาลยุติธรรม รวมถึงทรงจัดตั้งโรงเรียนกฎหมายขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทยอันเป็นประโยชน์ใหญ่ยิ่งแก่ประเทศชาติ

ชื่อของวันรพีมาจากพระนามเดิมของพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ คือ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๔ ในสมเด็จพระปิยมหาราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตลับ เมื่อวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๔๑๗

พระประวัติ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงมีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ เป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๑๔ ในสมเด็จพระปิยมหาราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตลับ เมื่อวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๔๑๗

wanrapee

จากซ้าย: พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ (กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์)
พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม (กรมหลวงปราจิณกิติบดี)
พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ (กรมพระจันทบุรีนฤนาถ)
พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช (กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช)

การศึกษา

พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ทรงเข้าศึกษาวิชาภาษาไทยครั้งแรกในสำนักพระยาศรีสุนทรโวหาร(น้อย อาจารยางกูร) เมื่อทรงผ่านการศึกษาแล้วได้ ทรงเข้าศึกษาภาษาอังกฤษชั้นต้น ในสำนักครูราม สามิ และในปี พ.ศ. ๒๔๒๖ ได้ทรงเข้าศึกษา ภาษาไทยอยู่ในสำนักพระยาโอวาทวรกิจ (แก่น) เปรียญ ณ พระตำหนักสวนกุหลาบ ในปี พ.ศ. ๒๔๒๗ ได้ทรงผนวชเป็นสามเณรประทับอยู่วัดบวรนิเวศ เมื่อปลายปี พ.ศ. ๒๔๓๑ได้เสด็จไปประเทศอังกฤษ และทรงเข้าศึกษาในโรงเรียนมัธยมอยู่ในกรุงลอนดอน ๓ ปี เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วได้ทรงเลือกศึกษาวิชา กฎหมายต่อที่วิทยาลัยไครส์ตเชิช ในมหาวิทยาลัยออกฟอร์ด เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๓ เมื่อได้ทรงเข้าศึกษาในวิทยาลัย ไครส์ตเชิช แล้วได้ ทรงอุตสาหะเอาพระทัยใส่เป็นอย่างมาก ในที่สุดได้ ทรงสอบไล่ได้ตามหลักสูตรชั้นปริญญาเกียรตินิยม ในทางกฎหมายของมหาวิทยาลัยแห่งนั้นจึงเสด็จกลับกรุงเทพฯ

wanrapee2

พระราชกรณียกิจ

ด้วยพระปรีชาสามารถอันเป็นอัจฉริยะประกอบกับพระวิริยะอุตสาหะของพระเจ้าบรมวงศ์ เธอกรมหลวง ราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระองค์ได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ อันเป็นคุณประโยชน์แก่ประเทศไทยเป็นเอนกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวงการกฎหมายไทย กล่าวคือทรงปรับปรุงศาลยุติธรรมสู่ระบบใหม่ทรงตรวจชำระสะสางกฎหมายทรงตั้งโรงเรียนกฎหมายเพื่อเปิดการสอนกฎหมาย ครั้งแรกทรงรวบรวม และแต่งตำราคำอธิบายกฎหมายลักษณะต่างๆ มากมายทรงเป็นกรรมการตรวจตัดสิน ความฎีกาซึ่งทำหน้าที่ศาลสูงสุดของประเทศ ทรงตั้ง กองพิมพ์ลายมือขึ้น เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๓ สำหรับตรวจ ลายพิมพ์นิ้วมือผู้ต้องหาในคดีอาญา อันเป็นจุดเริ่มต้น ของการพิสูจน์ลายมือที่กรมตำรวจ ในปัจจุบันนอกจาก นั้นในขณะดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิราช ทรงปรับปรุงกิจการกรมทะเบียนที่ดินให้เจริญก้าวหน้า เป็นอันมาก

การรับราชการในตำแหน่งที่สำคัญ

- เริ่มรับราชการในสำนักราชเลขานุการ และได้รับแต่งตั้งให้เป็นองคมนตรี
- เป็นสภานายกในกองข้าหลวงพิเศษ เพื่อจัดการแก้ไขธรรมเนียมศาลยุติธรรมหัวเมืองทั้งปวง และสะสางคดีความทั่วราชอาณาจักร
- เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม
- เป็นประธานกรรมการตรวจชำระกฎหมาย
- เป็นกรรมการตรวจตัดสินความฎีกา
- เป็นกรรมการตรวจตำแหน่งพนักงานในรัฐบาล
- เป็นกรรมการตรวจร่างกฎหมายลักษณะอาญา
- เป็นเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ

สิ้นพระชนม์

ในปี พ.ศ. ๒๔๖๒ได้ทรงได้รับพระราชทานอนุญาต ให้ลาพักราชการในตำแหน่งเสนบดีกระทรวงเกษตราธิราชเพื่อรักษาพระองค์ด้วย ทรงประชวรด้วยพระวัณโรคที่พระวักกะ และเสด็จไปรักษาพระองค์ ณ กรุงปารีส แต่อาการหาทุเลาไม่ ในที่สุดได้เสด็จสิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๔๖๓ พระชนมายุได้ ๔๗ พรรษา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงเป็นนักนิติศาสตร์ ผู้ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริตอย่างยิ่งยวด ทรงถือว่าความซื่อสัตย์สุจริต เป็นสิ่งสำคัญสำหรับชีวิตมนุษย์ โดยเฉพาะสำหรับนักกฎหมาย และทรงจัดตั้งโรงเรียน กฎหมายและเป็นผู้สอนวิชากฎหมายด้วยพระองค์เอง เพื่อที่จะให้มีผู้รู้กฎหมายมากขึ้นทรงจัดวางระเบียบศาลยุติธรรมสู่ระบบใหม่ ทรงรวบรวมกฎหมาย และคำพิพากษา ฎีกาพร้อมแต่งตำราอธิบายกฎหมายต่าง ๆ มากมายการค้นคว้ารวบรวมและพระนิพนธ์ ได้เป็นรากฐานก่อตั้งการศึกษานิติศาสตร์ขึ้นในประเทศไทยอันเป็นประโยชน์ใหญ่ยิ่งแก่ประเทศชาติจึงทรงได้รับยกย่องให้เป็น "พระบิดาแห่งกฎหมายไทย" และเรียกวันที่ ๗ สิงหาคม อันเป็นคล้ายวันสิ้นพระชนม์ของพระองค์ทุกปีว่า "วันรพี"

ข้อมูลจากhttps://e-library.siam.edu/rapee-day/

บทความที่เกี่ยวข้อง

วันเสาร์, 17 สิงหาคม 2562 19:34

เชิญร่วมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์

ขอเชิญร่วมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2562 ณ โรงเรียนรามราชพิทยาคม ในวันที่ 22 สิงหาคม 2562 โดยจะมีกิจกรรมสนุกสนานและให้ความรู้มากมาย มีการแข่งขันต่าง ๆ นักเรียนคนใดที่สนใจติดต่อสมัครกับคุณครูกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ทุกท่าน ภายวันวันพุธ ที่ 21 สิงหาคม 2562 เวลา 13.00 น. ได้เลย กิจกรรมต่าง ๆ มีดังนี้

science day Page 1

 

1. กิจกรรม จรวดขวดน้ำยิงไกล

science day Page 2

กติกา 

  • ทีมละ 3 คน
  • แต่ละทีมออกแบบและสร้างจรวดขวดน้ำทีมละ 1 ลำ
    เพื่อให้ยิงได้ไกลที่สุด (ออกแบบตามใจชอบ)

2. ประกวดชุดรีไซเคิล (Recycle)

science day Page 3

กติกา

  • ให้นักเรียนนำเศษวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์ชุดเพื่อประกวด
  • 1 ห้องส่งอย่างน้อย 1 ชุด

3. กิจกรรมโยนไข่ตกไม่แตก

science day Page 4

กติกา

  • 1 ห้องส่งอย่างน้อย 1 ทีม
  • ทีมละ 3 คน
  • แต่ละทีมออกแบบอุปกรณ์ห่อหุ้มไข่เพื่อให้โยนจากที่สูงแล้วไข่ไม่แตก (ออกแบบตามใจชอบ)

4. ประกวดภาพถ่ายทางวิทยาศาสตร์

science day Page 5

กติกา

  • 1 คน ส่งได้ 1 ภาพ
  • ภาพที่ส่งสามารถถ่ายด้วยกล้องชนิดใดก็ได้
  • ภาพที่ส่งให้ใส่ข้อความดังนี้
    1. ชื่อภาพ : ชื่อของภาพ
    2. คำอธิบาย : คำอธิบายที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
    3. ชื่อผู้ส่งเข้าประกวด : ชื่อ เลขที่ ชั้น

 โพสต์ภาพใน Facebook ตั้งเป็นสาธารณะและติด #RPKPHOTO

บทความที่เกี่ยวข้อง

19360145
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่แล้ว
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ทุกวัน
9645
36009
45654
19104868
167754
996925
19360145

Your IP: 13.58.60.192
2024-05-06 07:16